Thai PBS Podcast
Advance Search
ผลการค้นหา 54 รายการ
เรียงจาก

26
1
13 มี.ค. 68

ความแตกต่างระหว่างอาหารต้นตำรับ และ อาหารปรยุกต์ Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ) มุ่งรักษาและถ่ายทอดความเป็นดั้งเดิม ในขณะที่ Fusion Food (อาหารประยุกต์) มุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาสิ่งใหม่จากการผสมผสานสิ่งที่มีอยู่แล้ว

Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ)
- เป็นอาหารที่ยึดตามตำรับดั้งเดิมของวัฒนธรรมนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
- ใช้วัตถุดิบ เครื่องปรุง และวิธีการปรุงแบบดั้งเดิมตามตำรับโบราณ
- มีเป้าหมายเพื่อรักษาเอกลักษณ์และรสชาติที่แท้จริงของอาหารในวัฒนธรรมนั้น
- ตัวอย่าง: ต้มยำกุ้งแบบดั้งเดิม, พิซซ่าสไตล์นาโปลี, ซูชิแบบญี่ปุ่นโบราณ

Fusion Food (อาหารประยุกต์)
- การผสมผสานเทคนิค วัตถุดิบ หรือแนวคิดจากวัฒนธรรมอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- มีการดัดแปลง ประยุกต์ และสร้างสรรค์โดยไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์ดั้งเดิม
- เน้นนวัตกรรม การทดลอง และการสร้างประสบการณ์ใหม่ทางรสชาติ
- มักสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนอิทธิพลทางอาหาร
- ตัวอย่าง: ซูชิพิซซ่า, แกงเขียวหวานพาสต้า, บัวลอยไอศกรีม, ทาโก้สไตล์เกาหลี

เสน่ห์ของอาหารต้นตำรับที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นผสานกับศิลปะแห่งการประยุกต์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ เชฟพล ตัณฑเสถียร ที่เคารพรากเหง้าของอาหารดั้งเดิม เปรียบเสมือนการเดินทางทางของรสชาติที่พาคุณย้อนกลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์อาหารในอดีต #เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอนนี้จะบอกเล่าเรื่องราวของ“อาหารต้นตำรับและอาหารประยุกต์” ในแบบของ เชฟพล ตัณฑเสถียร โดย ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ กับเส้นทางการเดินทางทางรสชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด

19
1
06 มี.ค. 68

จากนักแสดงชื่อดังผันตัวมาเป็นเชฟ นอกจากไปเรียนรู้การทำอาหารได้หลากหลายสไตล์จากนานาประเทศแล้ว บนเส้นทางการทำงานที่อยู่กับครัวกว่า 20 ปี ทำให้ เชฟพล ค้นพบสิ่งสำคัญหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือวิธีที่จะทำให้เรากินอาหารได้อย่างอร่อยและสุขภาพดี โดยไม่ต้องใช้ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ คุยกับ พล ตัณฑเสถียร ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ค้นหาคำตอบว่า การทำอาหารกินเองได้ง่าย ๆ ที่บ้านและดีต่อสุขภาพนั้นทำอย่างไร ในตอน “สุขภาพดีเริ่มต้นที่ครัวในบ้าน”

26
1
20 ก.พ. 68

จากพื้นทะเลสู่ห้องครัว จากป่าเขาสู่จานอาหาร ธรรมชาติได้มอบของขวัญล้ำค่าคือ อูมามิ รสชาติที่ห้า ซึ่งช่วยประสานความกลมกล่อม เติมเต็มความอร่อยของมื้อเด็ดได้อย่างลงตัว อูมามิ รสชาติแห่งความลึกลับที่ซ่อนอยู่ในวัตถุดิบหลากหลาย เช่นสาหร่ายทะเล เห็ดป่า น้ำซุปกระดูกและผักนานาชนิด เป็นดั่งตัวกลางที่เชื่อมโยงรสเค็ม หวาน เปรี้ยว และขมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์ซิมโฟนีของอาหารอย่างเลิศรส มารู้จักต้นกำเนิดความมหัศจรรย์ของรสชาติอูมามิ และวิธีการที่จะทำให้อาหารธรรมดากลายเป็นความทรงจำที่น่าประทับใจไปพร้อมกันกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์ ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

32
1
13 ก.พ. 68

รสชาติเปรี้ยว ในอาหารและเครื่องดื่มช่วยปลุกต่อมรับรสในปากให้ตื่นตัว กระตุ้นน้ำลาย ชวนให้เกิดความรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้น ช่วยย่อยและเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ แถมยังเป็นแหล่งวิตามินซีที่สำคัญ แท้จริงแล้วการรับประทานอาหารรสเปรี้ยวมีความเสี่ยงซ่อนอยู่ นอกเหนือจากการมีผลให้เคลือบฟันสึกกร่อนได้หากรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป แพทย์และคนที่รักสุขภาพมักจะเตือนให้ระวังและหลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มหรือหวานจนเกินไป แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารแซบต่าง ๆ ที่ปรุงด้วยรสเปรี้ยวจัดจ้าน เช่น ต้มยำ ส้มตำ ลาบ แกงอ่อม ฯลฯ ยิ่งมีความเปรี้ยวมากขึ้นเท่าไหร่ก็เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันและโรคไตได้เช่นกัน แล้วจะกินเปรี้ยวอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด หาคำตอบได้ใน รายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอน "เปรี้ยวจี๊ด อร่อยเสี่ยงโรค" กับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์

131
1
06 ก.พ. 68

เบื้องหลังความหอมหวานของน้ำชง “ชาไทย” ซ่อนไว้ด้วยตัวเลขที่น่าตกใจ เพราะมีน้ำตาลกว่า 40 กรัมต่อแก้ว เทียบเท่ากับน้ำตาล 10 ช้อนชา เป็นปริมาณเกินกว่าที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ชาสีส้มสดใสชวนดื่มก็มาจากสีที่ใช้ในการผสมอาหาร (sunset yellow) แต่รู้หรือไม่ว่าหลายประเทศห้ามการใช้แล้ว (ยกเว้นในไทย) เพราะมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็ก นอกจากนี้ยังมีคาเฟอีนที่อาจส่งผลต่อการนอน ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว คนที่ดื่มชาตอนบ่ายหรือเย็นจึงอาจนอนไม่หลับในคืนนั้น ขณะที่ไขมันอิ่มตัวจากนมข้นหวานและครีมเทียมก็เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชาไทยอาจกลายเป็น "อาชญากร" ต่อสุขภาพ เพราะมีส่วนผสมหลายอย่างที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป แต่ทำอย่างไรจะทำให้สามารถดื่มได้โดยไม่ทำร้ายสุขภาพและปลอดภัย เชฟทักษ์ นุติ หุตะสิงห คุยกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

141
2
30 ม.ค. 68

หม่อมหลวงเติบ เกิดมาเพื่อออกโทรทัศน์หลาย ๆ คนเคยกล่าวไว้ ท่านมีคุณสมบัติพิเศษในตัวหลายอย่างเกินกุลสตรีไทยในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการครัวและ life style การใช้ชีวิต ดุจเดียวกับ Martha Stewart ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นผู้ทำให้อาหารมีชีวิตชีวา เป็นนักเลงอาหารแถวหน้าของเมืองไทย และมีจิตใจเปิดกว้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist จะพาไปรู้จักท่าน จากคำกล่าวของท่านที่ว่า “ตำรากับข้าวไทยเล่มใดบอกว่าแครอทใช้ปรุงอาหารไทยไม่ได้ตำรากับข้าวเล่มนั้นมีค่าแค่เพียงเศษกระดาษ”

47
1
24 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นหนึ่งในปูชนียาจารย์ด้านอาหารชาววังตัวจริง เสียงจริงท่านมีตำรับอาหารที่น่าสนใจมากมาย ปรุงออกมาแล้วมีรสชาติอร่อยและ ท่านมีโอกาสปรุงเผยแพร่ รสชาติอาหารของท่านภายในงานสังคมชั้นสูงต่าง ๆ ในอดีต ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปรู้จักอาหารเหล่านั้นในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

38
1
16 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ 9 กูรูอาหารชาววัง ผู้มีความประณีตละเอียดอ่อนในการปรุง
และการชิม เมื่อครั้งท่านดำรงตำแหน่งนายกสายปัญญาสมาคม ท่านได้รวบรวมตำรับอาหารเก๋ ๆ ล้ำยุคจากบรรดา พ่อครัวหัวป่าก์ หรือผู้ปรุง และเจ้าของตำรับที่เป็น “ผู้ชาย” ไว้มากมาย จะมีอาหารชนิดใดที่น่าสนใจ น่านำเอามาลองปรุงบ้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปชิมในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

51
1
09 ม.ค. 68

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงโปรดเสวยอาหารง่าย ๆ ปรุงง่ายเนื้อสัตว์น้อย ๆ ผักเยอะ ๆ รวมถึงไข่จาระเม็ด ของอร่อยที่ปัจจุบัน เราไม่มีโอกาสได้ลิ้มลองแล้ว เพราะเป็นสัตว์สงวนฯ ไข่จาระเม็ดนี้ ไม่ใช่ไข่ปลาจาระเม็ดที่้ราเห็นทั่วไป แต่เป็นไข่ของสัตว์อะไรนั้น ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาท่านไปรู้จักใน เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

26
1
13 มี.ค. 68

ความแตกต่างระหว่างอาหารต้นตำรับ และ อาหารปรยุกต์ Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ) มุ่งรักษาและถ่ายทอดความเป็นดั้งเดิม ในขณะที่ Fusion Food (อาหารประยุกต์) มุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาสิ่งใหม่จากการผสมผสานสิ่งที่มีอยู่แล้ว

Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ)
- เป็นอาหารที่ยึดตามตำรับดั้งเดิมของวัฒนธรรมนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
- ใช้วัตถุดิบ เครื่องปรุง และวิธีการปรุงแบบดั้งเดิมตามตำรับโบราณ
- มีเป้าหมายเพื่อรักษาเอกลักษณ์และรสชาติที่แท้จริงของอาหารในวัฒนธรรมนั้น
- ตัวอย่าง: ต้มยำกุ้งแบบดั้งเดิม, พิซซ่าสไตล์นาโปลี, ซูชิแบบญี่ปุ่นโบราณ

Fusion Food (อาหารประยุกต์)
- การผสมผสานเทคนิค วัตถุดิบ หรือแนวคิดจากวัฒนธรรมอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- มีการดัดแปลง ประยุกต์ และสร้างสรรค์โดยไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์ดั้งเดิม
- เน้นนวัตกรรม การทดลอง และการสร้างประสบการณ์ใหม่ทางรสชาติ
- มักสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนอิทธิพลทางอาหาร
- ตัวอย่าง: ซูชิพิซซ่า, แกงเขียวหวานพาสต้า, บัวลอยไอศกรีม, ทาโก้สไตล์เกาหลี

เสน่ห์ของอาหารต้นตำรับที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นผสานกับศิลปะแห่งการประยุกต์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ เชฟพล ตัณฑเสถียร ที่เคารพรากเหง้าของอาหารดั้งเดิม เปรียบเสมือนการเดินทางทางของรสชาติที่พาคุณย้อนกลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์อาหารในอดีต #เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอนนี้จะบอกเล่าเรื่องราวของ“อาหารต้นตำรับและอาหารประยุกต์” ในแบบของ เชฟพล ตัณฑเสถียร โดย ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ กับเส้นทางการเดินทางทางรสชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด

19
1
06 มี.ค. 68

จากนักแสดงชื่อดังผันตัวมาเป็นเชฟ นอกจากไปเรียนรู้การทำอาหารได้หลากหลายสไตล์จากนานาประเทศแล้ว บนเส้นทางการทำงานที่อยู่กับครัวกว่า 20 ปี ทำให้ เชฟพล ค้นพบสิ่งสำคัญหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือวิธีที่จะทำให้เรากินอาหารได้อย่างอร่อยและสุขภาพดี โดยไม่ต้องใช้ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ คุยกับ พล ตัณฑเสถียร ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ค้นหาคำตอบว่า การทำอาหารกินเองได้ง่าย ๆ ที่บ้านและดีต่อสุขภาพนั้นทำอย่างไร ในตอน “สุขภาพดีเริ่มต้นที่ครัวในบ้าน”

26
1
20 ก.พ. 68

จากพื้นทะเลสู่ห้องครัว จากป่าเขาสู่จานอาหาร ธรรมชาติได้มอบของขวัญล้ำค่าคือ อูมามิ รสชาติที่ห้า ซึ่งช่วยประสานความกลมกล่อม เติมเต็มความอร่อยของมื้อเด็ดได้อย่างลงตัว อูมามิ รสชาติแห่งความลึกลับที่ซ่อนอยู่ในวัตถุดิบหลากหลาย เช่นสาหร่ายทะเล เห็ดป่า น้ำซุปกระดูกและผักนานาชนิด เป็นดั่งตัวกลางที่เชื่อมโยงรสเค็ม หวาน เปรี้ยว และขมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์ซิมโฟนีของอาหารอย่างเลิศรส มารู้จักต้นกำเนิดความมหัศจรรย์ของรสชาติอูมามิ และวิธีการที่จะทำให้อาหารธรรมดากลายเป็นความทรงจำที่น่าประทับใจไปพร้อมกันกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์ ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

32
1
13 ก.พ. 68

รสชาติเปรี้ยว ในอาหารและเครื่องดื่มช่วยปลุกต่อมรับรสในปากให้ตื่นตัว กระตุ้นน้ำลาย ชวนให้เกิดความรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้น ช่วยย่อยและเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ แถมยังเป็นแหล่งวิตามินซีที่สำคัญ แท้จริงแล้วการรับประทานอาหารรสเปรี้ยวมีความเสี่ยงซ่อนอยู่ นอกเหนือจากการมีผลให้เคลือบฟันสึกกร่อนได้หากรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป แพทย์และคนที่รักสุขภาพมักจะเตือนให้ระวังและหลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มหรือหวานจนเกินไป แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารแซบต่าง ๆ ที่ปรุงด้วยรสเปรี้ยวจัดจ้าน เช่น ต้มยำ ส้มตำ ลาบ แกงอ่อม ฯลฯ ยิ่งมีความเปรี้ยวมากขึ้นเท่าไหร่ก็เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันและโรคไตได้เช่นกัน แล้วจะกินเปรี้ยวอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด หาคำตอบได้ใน รายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอน "เปรี้ยวจี๊ด อร่อยเสี่ยงโรค" กับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์

131
1
06 ก.พ. 68

เบื้องหลังความหอมหวานของน้ำชง “ชาไทย” ซ่อนไว้ด้วยตัวเลขที่น่าตกใจ เพราะมีน้ำตาลกว่า 40 กรัมต่อแก้ว เทียบเท่ากับน้ำตาล 10 ช้อนชา เป็นปริมาณเกินกว่าที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ชาสีส้มสดใสชวนดื่มก็มาจากสีที่ใช้ในการผสมอาหาร (sunset yellow) แต่รู้หรือไม่ว่าหลายประเทศห้ามการใช้แล้ว (ยกเว้นในไทย) เพราะมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็ก นอกจากนี้ยังมีคาเฟอีนที่อาจส่งผลต่อการนอน ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว คนที่ดื่มชาตอนบ่ายหรือเย็นจึงอาจนอนไม่หลับในคืนนั้น ขณะที่ไขมันอิ่มตัวจากนมข้นหวานและครีมเทียมก็เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชาไทยอาจกลายเป็น "อาชญากร" ต่อสุขภาพ เพราะมีส่วนผสมหลายอย่างที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป แต่ทำอย่างไรจะทำให้สามารถดื่มได้โดยไม่ทำร้ายสุขภาพและปลอดภัย เชฟทักษ์ นุติ หุตะสิงห คุยกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

141
2
30 ม.ค. 68

หม่อมหลวงเติบ เกิดมาเพื่อออกโทรทัศน์หลาย ๆ คนเคยกล่าวไว้ ท่านมีคุณสมบัติพิเศษในตัวหลายอย่างเกินกุลสตรีไทยในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการครัวและ life style การใช้ชีวิต ดุจเดียวกับ Martha Stewart ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นผู้ทำให้อาหารมีชีวิตชีวา เป็นนักเลงอาหารแถวหน้าของเมืองไทย และมีจิตใจเปิดกว้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist จะพาไปรู้จักท่าน จากคำกล่าวของท่านที่ว่า “ตำรากับข้าวไทยเล่มใดบอกว่าแครอทใช้ปรุงอาหารไทยไม่ได้ตำรากับข้าวเล่มนั้นมีค่าแค่เพียงเศษกระดาษ”

47
1
24 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นหนึ่งในปูชนียาจารย์ด้านอาหารชาววังตัวจริง เสียงจริงท่านมีตำรับอาหารที่น่าสนใจมากมาย ปรุงออกมาแล้วมีรสชาติอร่อยและ ท่านมีโอกาสปรุงเผยแพร่ รสชาติอาหารของท่านภายในงานสังคมชั้นสูงต่าง ๆ ในอดีต ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปรู้จักอาหารเหล่านั้นในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

38
1
16 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ 9 กูรูอาหารชาววัง ผู้มีความประณีตละเอียดอ่อนในการปรุง
และการชิม เมื่อครั้งท่านดำรงตำแหน่งนายกสายปัญญาสมาคม ท่านได้รวบรวมตำรับอาหารเก๋ ๆ ล้ำยุคจากบรรดา พ่อครัวหัวป่าก์ หรือผู้ปรุง และเจ้าของตำรับที่เป็น “ผู้ชาย” ไว้มากมาย จะมีอาหารชนิดใดที่น่าสนใจ น่านำเอามาลองปรุงบ้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปชิมในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

51
1
09 ม.ค. 68

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงโปรดเสวยอาหารง่าย ๆ ปรุงง่ายเนื้อสัตว์น้อย ๆ ผักเยอะ ๆ รวมถึงไข่จาระเม็ด ของอร่อยที่ปัจจุบัน เราไม่มีโอกาสได้ลิ้มลองแล้ว เพราะเป็นสัตว์สงวนฯ ไข่จาระเม็ดนี้ ไม่ใช่ไข่ปลาจาระเม็ดที่้ราเห็นทั่วไป แต่เป็นไข่ของสัตว์อะไรนั้น ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาท่านไปรู้จักใน เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

26
1
13 มี.ค. 68

ความแตกต่างระหว่างอาหารต้นตำรับ และ อาหารปรยุกต์ Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ) มุ่งรักษาและถ่ายทอดความเป็นดั้งเดิม ในขณะที่ Fusion Food (อาหารประยุกต์) มุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาสิ่งใหม่จากการผสมผสานสิ่งที่มีอยู่แล้ว

Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ)
- เป็นอาหารที่ยึดตามตำรับดั้งเดิมของวัฒนธรรมนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
- ใช้วัตถุดิบ เครื่องปรุง และวิธีการปรุงแบบดั้งเดิมตามตำรับโบราณ
- มีเป้าหมายเพื่อรักษาเอกลักษณ์และรสชาติที่แท้จริงของอาหารในวัฒนธรรมนั้น
- ตัวอย่าง: ต้มยำกุ้งแบบดั้งเดิม, พิซซ่าสไตล์นาโปลี, ซูชิแบบญี่ปุ่นโบราณ

Fusion Food (อาหารประยุกต์)
- การผสมผสานเทคนิค วัตถุดิบ หรือแนวคิดจากวัฒนธรรมอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- มีการดัดแปลง ประยุกต์ และสร้างสรรค์โดยไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์ดั้งเดิม
- เน้นนวัตกรรม การทดลอง และการสร้างประสบการณ์ใหม่ทางรสชาติ
- มักสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนอิทธิพลทางอาหาร
- ตัวอย่าง: ซูชิพิซซ่า, แกงเขียวหวานพาสต้า, บัวลอยไอศกรีม, ทาโก้สไตล์เกาหลี

เสน่ห์ของอาหารต้นตำรับที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นผสานกับศิลปะแห่งการประยุกต์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ เชฟพล ตัณฑเสถียร ที่เคารพรากเหง้าของอาหารดั้งเดิม เปรียบเสมือนการเดินทางทางของรสชาติที่พาคุณย้อนกลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์อาหารในอดีต #เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอนนี้จะบอกเล่าเรื่องราวของ“อาหารต้นตำรับและอาหารประยุกต์” ในแบบของ เชฟพล ตัณฑเสถียร โดย ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ กับเส้นทางการเดินทางทางรสชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด

19
1
06 มี.ค. 68

จากนักแสดงชื่อดังผันตัวมาเป็นเชฟ นอกจากไปเรียนรู้การทำอาหารได้หลากหลายสไตล์จากนานาประเทศแล้ว บนเส้นทางการทำงานที่อยู่กับครัวกว่า 20 ปี ทำให้ เชฟพล ค้นพบสิ่งสำคัญหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือวิธีที่จะทำให้เรากินอาหารได้อย่างอร่อยและสุขภาพดี โดยไม่ต้องใช้ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ คุยกับ พล ตัณฑเสถียร ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ค้นหาคำตอบว่า การทำอาหารกินเองได้ง่าย ๆ ที่บ้านและดีต่อสุขภาพนั้นทำอย่างไร ในตอน “สุขภาพดีเริ่มต้นที่ครัวในบ้าน”

26
1
20 ก.พ. 68

จากพื้นทะเลสู่ห้องครัว จากป่าเขาสู่จานอาหาร ธรรมชาติได้มอบของขวัญล้ำค่าคือ อูมามิ รสชาติที่ห้า ซึ่งช่วยประสานความกลมกล่อม เติมเต็มความอร่อยของมื้อเด็ดได้อย่างลงตัว อูมามิ รสชาติแห่งความลึกลับที่ซ่อนอยู่ในวัตถุดิบหลากหลาย เช่นสาหร่ายทะเล เห็ดป่า น้ำซุปกระดูกและผักนานาชนิด เป็นดั่งตัวกลางที่เชื่อมโยงรสเค็ม หวาน เปรี้ยว และขมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์ซิมโฟนีของอาหารอย่างเลิศรส มารู้จักต้นกำเนิดความมหัศจรรย์ของรสชาติอูมามิ และวิธีการที่จะทำให้อาหารธรรมดากลายเป็นความทรงจำที่น่าประทับใจไปพร้อมกันกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์ ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

32
1
13 ก.พ. 68

รสชาติเปรี้ยว ในอาหารและเครื่องดื่มช่วยปลุกต่อมรับรสในปากให้ตื่นตัว กระตุ้นน้ำลาย ชวนให้เกิดความรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้น ช่วยย่อยและเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ แถมยังเป็นแหล่งวิตามินซีที่สำคัญ แท้จริงแล้วการรับประทานอาหารรสเปรี้ยวมีความเสี่ยงซ่อนอยู่ นอกเหนือจากการมีผลให้เคลือบฟันสึกกร่อนได้หากรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป แพทย์และคนที่รักสุขภาพมักจะเตือนให้ระวังและหลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มหรือหวานจนเกินไป แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารแซบต่าง ๆ ที่ปรุงด้วยรสเปรี้ยวจัดจ้าน เช่น ต้มยำ ส้มตำ ลาบ แกงอ่อม ฯลฯ ยิ่งมีความเปรี้ยวมากขึ้นเท่าไหร่ก็เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันและโรคไตได้เช่นกัน แล้วจะกินเปรี้ยวอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด หาคำตอบได้ใน รายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอน "เปรี้ยวจี๊ด อร่อยเสี่ยงโรค" กับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์

131
1
06 ก.พ. 68

เบื้องหลังความหอมหวานของน้ำชง “ชาไทย” ซ่อนไว้ด้วยตัวเลขที่น่าตกใจ เพราะมีน้ำตาลกว่า 40 กรัมต่อแก้ว เทียบเท่ากับน้ำตาล 10 ช้อนชา เป็นปริมาณเกินกว่าที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ชาสีส้มสดใสชวนดื่มก็มาจากสีที่ใช้ในการผสมอาหาร (sunset yellow) แต่รู้หรือไม่ว่าหลายประเทศห้ามการใช้แล้ว (ยกเว้นในไทย) เพราะมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็ก นอกจากนี้ยังมีคาเฟอีนที่อาจส่งผลต่อการนอน ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว คนที่ดื่มชาตอนบ่ายหรือเย็นจึงอาจนอนไม่หลับในคืนนั้น ขณะที่ไขมันอิ่มตัวจากนมข้นหวานและครีมเทียมก็เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชาไทยอาจกลายเป็น "อาชญากร" ต่อสุขภาพ เพราะมีส่วนผสมหลายอย่างที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป แต่ทำอย่างไรจะทำให้สามารถดื่มได้โดยไม่ทำร้ายสุขภาพและปลอดภัย เชฟทักษ์ นุติ หุตะสิงห คุยกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

141
2
30 ม.ค. 68

หม่อมหลวงเติบ เกิดมาเพื่อออกโทรทัศน์หลาย ๆ คนเคยกล่าวไว้ ท่านมีคุณสมบัติพิเศษในตัวหลายอย่างเกินกุลสตรีไทยในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการครัวและ life style การใช้ชีวิต ดุจเดียวกับ Martha Stewart ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นผู้ทำให้อาหารมีชีวิตชีวา เป็นนักเลงอาหารแถวหน้าของเมืองไทย และมีจิตใจเปิดกว้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist จะพาไปรู้จักท่าน จากคำกล่าวของท่านที่ว่า “ตำรากับข้าวไทยเล่มใดบอกว่าแครอทใช้ปรุงอาหารไทยไม่ได้ตำรากับข้าวเล่มนั้นมีค่าแค่เพียงเศษกระดาษ”

47
1
24 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นหนึ่งในปูชนียาจารย์ด้านอาหารชาววังตัวจริง เสียงจริงท่านมีตำรับอาหารที่น่าสนใจมากมาย ปรุงออกมาแล้วมีรสชาติอร่อยและ ท่านมีโอกาสปรุงเผยแพร่ รสชาติอาหารของท่านภายในงานสังคมชั้นสูงต่าง ๆ ในอดีต ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปรู้จักอาหารเหล่านั้นในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

38
1
16 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ 9 กูรูอาหารชาววัง ผู้มีความประณีตละเอียดอ่อนในการปรุง
และการชิม เมื่อครั้งท่านดำรงตำแหน่งนายกสายปัญญาสมาคม ท่านได้รวบรวมตำรับอาหารเก๋ ๆ ล้ำยุคจากบรรดา พ่อครัวหัวป่าก์ หรือผู้ปรุง และเจ้าของตำรับที่เป็น “ผู้ชาย” ไว้มากมาย จะมีอาหารชนิดใดที่น่าสนใจ น่านำเอามาลองปรุงบ้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปชิมในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

51
1
09 ม.ค. 68

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงโปรดเสวยอาหารง่าย ๆ ปรุงง่ายเนื้อสัตว์น้อย ๆ ผักเยอะ ๆ รวมถึงไข่จาระเม็ด ของอร่อยที่ปัจจุบัน เราไม่มีโอกาสได้ลิ้มลองแล้ว เพราะเป็นสัตว์สงวนฯ ไข่จาระเม็ดนี้ ไม่ใช่ไข่ปลาจาระเม็ดที่้ราเห็นทั่วไป แต่เป็นไข่ของสัตว์อะไรนั้น ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาท่านไปรู้จักใน เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

26
1
13 มี.ค. 68

ความแตกต่างระหว่างอาหารต้นตำรับ และ อาหารปรยุกต์ Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ) มุ่งรักษาและถ่ายทอดความเป็นดั้งเดิม ในขณะที่ Fusion Food (อาหารประยุกต์) มุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาสิ่งใหม่จากการผสมผสานสิ่งที่มีอยู่แล้ว

Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ)
- เป็นอาหารที่ยึดตามตำรับดั้งเดิมของวัฒนธรรมนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
- ใช้วัตถุดิบ เครื่องปรุง และวิธีการปรุงแบบดั้งเดิมตามตำรับโบราณ
- มีเป้าหมายเพื่อรักษาเอกลักษณ์และรสชาติที่แท้จริงของอาหารในวัฒนธรรมนั้น
- ตัวอย่าง: ต้มยำกุ้งแบบดั้งเดิม, พิซซ่าสไตล์นาโปลี, ซูชิแบบญี่ปุ่นโบราณ

Fusion Food (อาหารประยุกต์)
- การผสมผสานเทคนิค วัตถุดิบ หรือแนวคิดจากวัฒนธรรมอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- มีการดัดแปลง ประยุกต์ และสร้างสรรค์โดยไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์ดั้งเดิม
- เน้นนวัตกรรม การทดลอง และการสร้างประสบการณ์ใหม่ทางรสชาติ
- มักสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนอิทธิพลทางอาหาร
- ตัวอย่าง: ซูชิพิซซ่า, แกงเขียวหวานพาสต้า, บัวลอยไอศกรีม, ทาโก้สไตล์เกาหลี

เสน่ห์ของอาหารต้นตำรับที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นผสานกับศิลปะแห่งการประยุกต์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ เชฟพล ตัณฑเสถียร ที่เคารพรากเหง้าของอาหารดั้งเดิม เปรียบเสมือนการเดินทางทางของรสชาติที่พาคุณย้อนกลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์อาหารในอดีต #เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอนนี้จะบอกเล่าเรื่องราวของ“อาหารต้นตำรับและอาหารประยุกต์” ในแบบของ เชฟพล ตัณฑเสถียร โดย ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ กับเส้นทางการเดินทางทางรสชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด

19
1
06 มี.ค. 68

จากนักแสดงชื่อดังผันตัวมาเป็นเชฟ นอกจากไปเรียนรู้การทำอาหารได้หลากหลายสไตล์จากนานาประเทศแล้ว บนเส้นทางการทำงานที่อยู่กับครัวกว่า 20 ปี ทำให้ เชฟพล ค้นพบสิ่งสำคัญหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือวิธีที่จะทำให้เรากินอาหารได้อย่างอร่อยและสุขภาพดี โดยไม่ต้องใช้ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ คุยกับ พล ตัณฑเสถียร ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ค้นหาคำตอบว่า การทำอาหารกินเองได้ง่าย ๆ ที่บ้านและดีต่อสุขภาพนั้นทำอย่างไร ในตอน “สุขภาพดีเริ่มต้นที่ครัวในบ้าน”

26
1
20 ก.พ. 68

จากพื้นทะเลสู่ห้องครัว จากป่าเขาสู่จานอาหาร ธรรมชาติได้มอบของขวัญล้ำค่าคือ อูมามิ รสชาติที่ห้า ซึ่งช่วยประสานความกลมกล่อม เติมเต็มความอร่อยของมื้อเด็ดได้อย่างลงตัว อูมามิ รสชาติแห่งความลึกลับที่ซ่อนอยู่ในวัตถุดิบหลากหลาย เช่นสาหร่ายทะเล เห็ดป่า น้ำซุปกระดูกและผักนานาชนิด เป็นดั่งตัวกลางที่เชื่อมโยงรสเค็ม หวาน เปรี้ยว และขมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์ซิมโฟนีของอาหารอย่างเลิศรส มารู้จักต้นกำเนิดความมหัศจรรย์ของรสชาติอูมามิ และวิธีการที่จะทำให้อาหารธรรมดากลายเป็นความทรงจำที่น่าประทับใจไปพร้อมกันกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์ ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

32
1
13 ก.พ. 68

รสชาติเปรี้ยว ในอาหารและเครื่องดื่มช่วยปลุกต่อมรับรสในปากให้ตื่นตัว กระตุ้นน้ำลาย ชวนให้เกิดความรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้น ช่วยย่อยและเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ แถมยังเป็นแหล่งวิตามินซีที่สำคัญ แท้จริงแล้วการรับประทานอาหารรสเปรี้ยวมีความเสี่ยงซ่อนอยู่ นอกเหนือจากการมีผลให้เคลือบฟันสึกกร่อนได้หากรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป แพทย์และคนที่รักสุขภาพมักจะเตือนให้ระวังและหลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มหรือหวานจนเกินไป แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารแซบต่าง ๆ ที่ปรุงด้วยรสเปรี้ยวจัดจ้าน เช่น ต้มยำ ส้มตำ ลาบ แกงอ่อม ฯลฯ ยิ่งมีความเปรี้ยวมากขึ้นเท่าไหร่ก็เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันและโรคไตได้เช่นกัน แล้วจะกินเปรี้ยวอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด หาคำตอบได้ใน รายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอน "เปรี้ยวจี๊ด อร่อยเสี่ยงโรค" กับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์

131
1
06 ก.พ. 68

เบื้องหลังความหอมหวานของน้ำชง “ชาไทย” ซ่อนไว้ด้วยตัวเลขที่น่าตกใจ เพราะมีน้ำตาลกว่า 40 กรัมต่อแก้ว เทียบเท่ากับน้ำตาล 10 ช้อนชา เป็นปริมาณเกินกว่าที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ชาสีส้มสดใสชวนดื่มก็มาจากสีที่ใช้ในการผสมอาหาร (sunset yellow) แต่รู้หรือไม่ว่าหลายประเทศห้ามการใช้แล้ว (ยกเว้นในไทย) เพราะมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็ก นอกจากนี้ยังมีคาเฟอีนที่อาจส่งผลต่อการนอน ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว คนที่ดื่มชาตอนบ่ายหรือเย็นจึงอาจนอนไม่หลับในคืนนั้น ขณะที่ไขมันอิ่มตัวจากนมข้นหวานและครีมเทียมก็เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชาไทยอาจกลายเป็น "อาชญากร" ต่อสุขภาพ เพราะมีส่วนผสมหลายอย่างที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป แต่ทำอย่างไรจะทำให้สามารถดื่มได้โดยไม่ทำร้ายสุขภาพและปลอดภัย เชฟทักษ์ นุติ หุตะสิงห คุยกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

141
2
30 ม.ค. 68

หม่อมหลวงเติบ เกิดมาเพื่อออกโทรทัศน์หลาย ๆ คนเคยกล่าวไว้ ท่านมีคุณสมบัติพิเศษในตัวหลายอย่างเกินกุลสตรีไทยในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการครัวและ life style การใช้ชีวิต ดุจเดียวกับ Martha Stewart ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นผู้ทำให้อาหารมีชีวิตชีวา เป็นนักเลงอาหารแถวหน้าของเมืองไทย และมีจิตใจเปิดกว้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist จะพาไปรู้จักท่าน จากคำกล่าวของท่านที่ว่า “ตำรากับข้าวไทยเล่มใดบอกว่าแครอทใช้ปรุงอาหารไทยไม่ได้ตำรากับข้าวเล่มนั้นมีค่าแค่เพียงเศษกระดาษ”

47
1
24 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นหนึ่งในปูชนียาจารย์ด้านอาหารชาววังตัวจริง เสียงจริงท่านมีตำรับอาหารที่น่าสนใจมากมาย ปรุงออกมาแล้วมีรสชาติอร่อยและ ท่านมีโอกาสปรุงเผยแพร่ รสชาติอาหารของท่านภายในงานสังคมชั้นสูงต่าง ๆ ในอดีต ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปรู้จักอาหารเหล่านั้นในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

38
1
16 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ 9 กูรูอาหารชาววัง ผู้มีความประณีตละเอียดอ่อนในการปรุง
และการชิม เมื่อครั้งท่านดำรงตำแหน่งนายกสายปัญญาสมาคม ท่านได้รวบรวมตำรับอาหารเก๋ ๆ ล้ำยุคจากบรรดา พ่อครัวหัวป่าก์ หรือผู้ปรุง และเจ้าของตำรับที่เป็น “ผู้ชาย” ไว้มากมาย จะมีอาหารชนิดใดที่น่าสนใจ น่านำเอามาลองปรุงบ้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปชิมในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

51
1
09 ม.ค. 68

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงโปรดเสวยอาหารง่าย ๆ ปรุงง่ายเนื้อสัตว์น้อย ๆ ผักเยอะ ๆ รวมถึงไข่จาระเม็ด ของอร่อยที่ปัจจุบัน เราไม่มีโอกาสได้ลิ้มลองแล้ว เพราะเป็นสัตว์สงวนฯ ไข่จาระเม็ดนี้ ไม่ใช่ไข่ปลาจาระเม็ดที่้ราเห็นทั่วไป แต่เป็นไข่ของสัตว์อะไรนั้น ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาท่านไปรู้จักใน เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

26
1
13 มี.ค. 68

ความแตกต่างระหว่างอาหารต้นตำรับ และ อาหารปรยุกต์ Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ) มุ่งรักษาและถ่ายทอดความเป็นดั้งเดิม ในขณะที่ Fusion Food (อาหารประยุกต์) มุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาสิ่งใหม่จากการผสมผสานสิ่งที่มีอยู่แล้ว

Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ)
- เป็นอาหารที่ยึดตามตำรับดั้งเดิมของวัฒนธรรมนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
- ใช้วัตถุดิบ เครื่องปรุง และวิธีการปรุงแบบดั้งเดิมตามตำรับโบราณ
- มีเป้าหมายเพื่อรักษาเอกลักษณ์และรสชาติที่แท้จริงของอาหารในวัฒนธรรมนั้น
- ตัวอย่าง: ต้มยำกุ้งแบบดั้งเดิม, พิซซ่าสไตล์นาโปลี, ซูชิแบบญี่ปุ่นโบราณ

Fusion Food (อาหารประยุกต์)
- การผสมผสานเทคนิค วัตถุดิบ หรือแนวคิดจากวัฒนธรรมอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- มีการดัดแปลง ประยุกต์ และสร้างสรรค์โดยไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์ดั้งเดิม
- เน้นนวัตกรรม การทดลอง และการสร้างประสบการณ์ใหม่ทางรสชาติ
- มักสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนอิทธิพลทางอาหาร
- ตัวอย่าง: ซูชิพิซซ่า, แกงเขียวหวานพาสต้า, บัวลอยไอศกรีม, ทาโก้สไตล์เกาหลี

เสน่ห์ของอาหารต้นตำรับที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นผสานกับศิลปะแห่งการประยุกต์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ เชฟพล ตัณฑเสถียร ที่เคารพรากเหง้าของอาหารดั้งเดิม เปรียบเสมือนการเดินทางทางของรสชาติที่พาคุณย้อนกลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์อาหารในอดีต #เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอนนี้จะบอกเล่าเรื่องราวของ“อาหารต้นตำรับและอาหารประยุกต์” ในแบบของ เชฟพล ตัณฑเสถียร โดย ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ กับเส้นทางการเดินทางทางรสชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด

19
1
06 มี.ค. 68

จากนักแสดงชื่อดังผันตัวมาเป็นเชฟ นอกจากไปเรียนรู้การทำอาหารได้หลากหลายสไตล์จากนานาประเทศแล้ว บนเส้นทางการทำงานที่อยู่กับครัวกว่า 20 ปี ทำให้ เชฟพล ค้นพบสิ่งสำคัญหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือวิธีที่จะทำให้เรากินอาหารได้อย่างอร่อยและสุขภาพดี โดยไม่ต้องใช้ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ คุยกับ พล ตัณฑเสถียร ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ค้นหาคำตอบว่า การทำอาหารกินเองได้ง่าย ๆ ที่บ้านและดีต่อสุขภาพนั้นทำอย่างไร ในตอน “สุขภาพดีเริ่มต้นที่ครัวในบ้าน”

26
1
20 ก.พ. 68

จากพื้นทะเลสู่ห้องครัว จากป่าเขาสู่จานอาหาร ธรรมชาติได้มอบของขวัญล้ำค่าคือ อูมามิ รสชาติที่ห้า ซึ่งช่วยประสานความกลมกล่อม เติมเต็มความอร่อยของมื้อเด็ดได้อย่างลงตัว อูมามิ รสชาติแห่งความลึกลับที่ซ่อนอยู่ในวัตถุดิบหลากหลาย เช่นสาหร่ายทะเล เห็ดป่า น้ำซุปกระดูกและผักนานาชนิด เป็นดั่งตัวกลางที่เชื่อมโยงรสเค็ม หวาน เปรี้ยว และขมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์ซิมโฟนีของอาหารอย่างเลิศรส มารู้จักต้นกำเนิดความมหัศจรรย์ของรสชาติอูมามิ และวิธีการที่จะทำให้อาหารธรรมดากลายเป็นความทรงจำที่น่าประทับใจไปพร้อมกันกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์ ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

32
1
13 ก.พ. 68

รสชาติเปรี้ยว ในอาหารและเครื่องดื่มช่วยปลุกต่อมรับรสในปากให้ตื่นตัว กระตุ้นน้ำลาย ชวนให้เกิดความรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้น ช่วยย่อยและเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ แถมยังเป็นแหล่งวิตามินซีที่สำคัญ แท้จริงแล้วการรับประทานอาหารรสเปรี้ยวมีความเสี่ยงซ่อนอยู่ นอกเหนือจากการมีผลให้เคลือบฟันสึกกร่อนได้หากรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป แพทย์และคนที่รักสุขภาพมักจะเตือนให้ระวังและหลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มหรือหวานจนเกินไป แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารแซบต่าง ๆ ที่ปรุงด้วยรสเปรี้ยวจัดจ้าน เช่น ต้มยำ ส้มตำ ลาบ แกงอ่อม ฯลฯ ยิ่งมีความเปรี้ยวมากขึ้นเท่าไหร่ก็เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันและโรคไตได้เช่นกัน แล้วจะกินเปรี้ยวอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด หาคำตอบได้ใน รายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอน "เปรี้ยวจี๊ด อร่อยเสี่ยงโรค" กับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์

131
1
06 ก.พ. 68

เบื้องหลังความหอมหวานของน้ำชง “ชาไทย” ซ่อนไว้ด้วยตัวเลขที่น่าตกใจ เพราะมีน้ำตาลกว่า 40 กรัมต่อแก้ว เทียบเท่ากับน้ำตาล 10 ช้อนชา เป็นปริมาณเกินกว่าที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ชาสีส้มสดใสชวนดื่มก็มาจากสีที่ใช้ในการผสมอาหาร (sunset yellow) แต่รู้หรือไม่ว่าหลายประเทศห้ามการใช้แล้ว (ยกเว้นในไทย) เพราะมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็ก นอกจากนี้ยังมีคาเฟอีนที่อาจส่งผลต่อการนอน ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว คนที่ดื่มชาตอนบ่ายหรือเย็นจึงอาจนอนไม่หลับในคืนนั้น ขณะที่ไขมันอิ่มตัวจากนมข้นหวานและครีมเทียมก็เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชาไทยอาจกลายเป็น "อาชญากร" ต่อสุขภาพ เพราะมีส่วนผสมหลายอย่างที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป แต่ทำอย่างไรจะทำให้สามารถดื่มได้โดยไม่ทำร้ายสุขภาพและปลอดภัย เชฟทักษ์ นุติ หุตะสิงห คุยกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

141
2
30 ม.ค. 68

หม่อมหลวงเติบ เกิดมาเพื่อออกโทรทัศน์หลาย ๆ คนเคยกล่าวไว้ ท่านมีคุณสมบัติพิเศษในตัวหลายอย่างเกินกุลสตรีไทยในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการครัวและ life style การใช้ชีวิต ดุจเดียวกับ Martha Stewart ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นผู้ทำให้อาหารมีชีวิตชีวา เป็นนักเลงอาหารแถวหน้าของเมืองไทย และมีจิตใจเปิดกว้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist จะพาไปรู้จักท่าน จากคำกล่าวของท่านที่ว่า “ตำรากับข้าวไทยเล่มใดบอกว่าแครอทใช้ปรุงอาหารไทยไม่ได้ตำรากับข้าวเล่มนั้นมีค่าแค่เพียงเศษกระดาษ”

47
1
24 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นหนึ่งในปูชนียาจารย์ด้านอาหารชาววังตัวจริง เสียงจริงท่านมีตำรับอาหารที่น่าสนใจมากมาย ปรุงออกมาแล้วมีรสชาติอร่อยและ ท่านมีโอกาสปรุงเผยแพร่ รสชาติอาหารของท่านภายในงานสังคมชั้นสูงต่าง ๆ ในอดีต ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปรู้จักอาหารเหล่านั้นในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

38
1
16 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ 9 กูรูอาหารชาววัง ผู้มีความประณีตละเอียดอ่อนในการปรุง
และการชิม เมื่อครั้งท่านดำรงตำแหน่งนายกสายปัญญาสมาคม ท่านได้รวบรวมตำรับอาหารเก๋ ๆ ล้ำยุคจากบรรดา พ่อครัวหัวป่าก์ หรือผู้ปรุง และเจ้าของตำรับที่เป็น “ผู้ชาย” ไว้มากมาย จะมีอาหารชนิดใดที่น่าสนใจ น่านำเอามาลองปรุงบ้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปชิมในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

51
1
09 ม.ค. 68

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงโปรดเสวยอาหารง่าย ๆ ปรุงง่ายเนื้อสัตว์น้อย ๆ ผักเยอะ ๆ รวมถึงไข่จาระเม็ด ของอร่อยที่ปัจจุบัน เราไม่มีโอกาสได้ลิ้มลองแล้ว เพราะเป็นสัตว์สงวนฯ ไข่จาระเม็ดนี้ ไม่ใช่ไข่ปลาจาระเม็ดที่้ราเห็นทั่วไป แต่เป็นไข่ของสัตว์อะไรนั้น ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาท่านไปรู้จักใน เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

26
1
13 มี.ค. 68

ความแตกต่างระหว่างอาหารต้นตำรับ และ อาหารปรยุกต์ Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ) มุ่งรักษาและถ่ายทอดความเป็นดั้งเดิม ในขณะที่ Fusion Food (อาหารประยุกต์) มุ่งสร้างสรรค์และพัฒนาสิ่งใหม่จากการผสมผสานสิ่งที่มีอยู่แล้ว

Authentic Food (อาหารดั้งเดิม ,ต้นตำรับ)
- เป็นอาหารที่ยึดตามตำรับดั้งเดิมของวัฒนธรรมนั้น ๆ อย่างเคร่งครัด
- ใช้วัตถุดิบ เครื่องปรุง และวิธีการปรุงแบบดั้งเดิมตามตำรับโบราณ
- มีเป้าหมายเพื่อรักษาเอกลักษณ์และรสชาติที่แท้จริงของอาหารในวัฒนธรรมนั้น
- ตัวอย่าง: ต้มยำกุ้งแบบดั้งเดิม, พิซซ่าสไตล์นาโปลี, ซูชิแบบญี่ปุ่นโบราณ

Fusion Food (อาหารประยุกต์)
- การผสมผสานเทคนิค วัตถุดิบ หรือแนวคิดจากวัฒนธรรมอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
- มีการดัดแปลง ประยุกต์ และสร้างสรรค์โดยไม่ยึดติดกับกฎเกณฑ์ดั้งเดิม
- เน้นนวัตกรรม การทดลอง และการสร้างประสบการณ์ใหม่ทางรสชาติ
- มักสะท้อนความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการแลกเปลี่ยนอิทธิพลทางอาหาร
- ตัวอย่าง: ซูชิพิซซ่า, แกงเขียวหวานพาสต้า, บัวลอยไอศกรีม, ทาโก้สไตล์เกาหลี

เสน่ห์ของอาหารต้นตำรับที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่นผสานกับศิลปะแห่งการประยุกต์ในแบบฉบับเฉพาะตัวของ เชฟพล ตัณฑเสถียร ที่เคารพรากเหง้าของอาหารดั้งเดิม เปรียบเสมือนการเดินทางทางของรสชาติที่พาคุณย้อนกลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์อาหารในอดีต #เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอนนี้จะบอกเล่าเรื่องราวของ“อาหารต้นตำรับและอาหารประยุกต์” ในแบบของ เชฟพล ตัณฑเสถียร โดย ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ กับเส้นทางการเดินทางทางรสชาติที่ไม่มีที่สิ้นสุด

19
1
06 มี.ค. 68

จากนักแสดงชื่อดังผันตัวมาเป็นเชฟ นอกจากไปเรียนรู้การทำอาหารได้หลากหลายสไตล์จากนานาประเทศแล้ว บนเส้นทางการทำงานที่อยู่กับครัวกว่า 20 ปี ทำให้ เชฟพล ค้นพบสิ่งสำคัญหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือวิธีที่จะทำให้เรากินอาหารได้อย่างอร่อยและสุขภาพดี โดยไม่ต้องใช้ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ คุยกับ พล ตัณฑเสถียร ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ค้นหาคำตอบว่า การทำอาหารกินเองได้ง่าย ๆ ที่บ้านและดีต่อสุขภาพนั้นทำอย่างไร ในตอน “สุขภาพดีเริ่มต้นที่ครัวในบ้าน”

26
1
20 ก.พ. 68

จากพื้นทะเลสู่ห้องครัว จากป่าเขาสู่จานอาหาร ธรรมชาติได้มอบของขวัญล้ำค่าคือ อูมามิ รสชาติที่ห้า ซึ่งช่วยประสานความกลมกล่อม เติมเต็มความอร่อยของมื้อเด็ดได้อย่างลงตัว อูมามิ รสชาติแห่งความลึกลับที่ซ่อนอยู่ในวัตถุดิบหลากหลาย เช่นสาหร่ายทะเล เห็ดป่า น้ำซุปกระดูกและผักนานาชนิด เป็นดั่งตัวกลางที่เชื่อมโยงรสเค็ม หวาน เปรี้ยว และขมเข้าด้วยกัน สร้างสรรค์ซิมโฟนีของอาหารอย่างเลิศรส มารู้จักต้นกำเนิดความมหัศจรรย์ของรสชาติอูมามิ และวิธีการที่จะทำให้อาหารธรรมดากลายเป็นความทรงจำที่น่าประทับใจไปพร้อมกันกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์ ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

32
1
13 ก.พ. 68

รสชาติเปรี้ยว ในอาหารและเครื่องดื่มช่วยปลุกต่อมรับรสในปากให้ตื่นตัว กระตุ้นน้ำลาย ชวนให้เกิดความรู้สึกอยากรับประทานอาหารมากขึ้น ช่วยย่อยและเพิ่มการดูดซึมแร่ธาตุ แถมยังเป็นแหล่งวิตามินซีที่สำคัญ แท้จริงแล้วการรับประทานอาหารรสเปรี้ยวมีความเสี่ยงซ่อนอยู่ นอกเหนือจากการมีผลให้เคลือบฟันสึกกร่อนได้หากรับประทานมากหรือบ่อยจนเกินไป แพทย์และคนที่รักสุขภาพมักจะเตือนให้ระวังและหลีกเลี่ยงอาหารที่เค็มหรือหวานจนเกินไป แต่รู้หรือไม่ว่าอาหารแซบต่าง ๆ ที่ปรุงด้วยรสเปรี้ยวจัดจ้าน เช่น ต้มยำ ส้มตำ ลาบ แกงอ่อม ฯลฯ ยิ่งมีความเปรี้ยวมากขึ้นเท่าไหร่ก็เป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดความดันและโรคไตได้เช่นกัน แล้วจะกินเปรี้ยวอย่างไรให้ได้ประโยชน์สูงสุด หาคำตอบได้ใน รายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน ตอน "เปรี้ยวจี๊ด อร่อยเสี่ยงโรค" กับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ FoodStylist และ ดร. นุติ หุตะสิงห TUCK the CHEF - เชฟทักษ์

131
1
06 ก.พ. 68

เบื้องหลังความหอมหวานของน้ำชง “ชาไทย” ซ่อนไว้ด้วยตัวเลขที่น่าตกใจ เพราะมีน้ำตาลกว่า 40 กรัมต่อแก้ว เทียบเท่ากับน้ำตาล 10 ช้อนชา เป็นปริมาณเกินกว่าที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ชาสีส้มสดใสชวนดื่มก็มาจากสีที่ใช้ในการผสมอาหาร (sunset yellow) แต่รู้หรือไม่ว่าหลายประเทศห้ามการใช้แล้ว (ยกเว้นในไทย) เพราะมีผลต่อพัฒนาการทางสมองของเด็ก นอกจากนี้ยังมีคาเฟอีนที่อาจส่งผลต่อการนอน ความดันโลหิตสูงและหัวใจเต้นเร็ว คนที่ดื่มชาตอนบ่ายหรือเย็นจึงอาจนอนไม่หลับในคืนนั้น ขณะที่ไขมันอิ่มตัวจากนมข้นหวานและครีมเทียมก็เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ชาไทยอาจกลายเป็น "อาชญากร" ต่อสุขภาพ เพราะมีส่วนผสมหลายอย่างที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหากได้รับในปริมาณที่มากเกินไป แต่ทำอย่างไรจะทำให้สามารถดื่มได้โดยไม่ทำร้ายสุขภาพและปลอดภัย เชฟทักษ์ นุติ หุตะสิงห คุยกับ ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist ในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

141
2
30 ม.ค. 68

หม่อมหลวงเติบ เกิดมาเพื่อออกโทรทัศน์หลาย ๆ คนเคยกล่าวไว้ ท่านมีคุณสมบัติพิเศษในตัวหลายอย่างเกินกุลสตรีไทยในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของการครัวและ life style การใช้ชีวิต ดุจเดียวกับ Martha Stewart ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก หม่อมหลวงเติบ ชุมสาย เป็นผู้ทำให้อาหารมีชีวิตชีวา เป็นนักเลงอาหารแถวหน้าของเมืองไทย และมีจิตใจเปิดกว้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food Stylist จะพาไปรู้จักท่าน จากคำกล่าวของท่านที่ว่า “ตำรากับข้าวไทยเล่มใดบอกว่าแครอทใช้ปรุงอาหารไทยไม่ได้ตำรากับข้าวเล่มนั้นมีค่าแค่เพียงเศษกระดาษ”

47
1
24 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เป็นหนึ่งในปูชนียาจารย์ด้านอาหารชาววังตัวจริง เสียงจริงท่านมีตำรับอาหารที่น่าสนใจมากมาย ปรุงออกมาแล้วมีรสชาติอร่อยและ ท่านมีโอกาสปรุงเผยแพร่ รสชาติอาหารของท่านภายในงานสังคมชั้นสูงต่าง ๆ ในอดีต ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปรู้จักอาหารเหล่านั้นในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

38
1
16 ม.ค. 68

ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถใน รัชกาลที่ 9 กูรูอาหารชาววัง ผู้มีความประณีตละเอียดอ่อนในการปรุง
และการชิม เมื่อครั้งท่านดำรงตำแหน่งนายกสายปัญญาสมาคม ท่านได้รวบรวมตำรับอาหารเก๋ ๆ ล้ำยุคจากบรรดา พ่อครัวหัวป่าก์ หรือผู้ปรุง และเจ้าของตำรับที่เป็น “ผู้ชาย” ไว้มากมาย จะมีอาหารชนิดใดที่น่าสนใจ น่านำเอามาลองปรุงบ้าง ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาไปชิมในรายการ เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

51
1
09 ม.ค. 68

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงโปรดเสวยอาหารง่าย ๆ ปรุงง่ายเนื้อสัตว์น้อย ๆ ผักเยอะ ๆ รวมถึงไข่จาระเม็ด ของอร่อยที่ปัจจุบัน เราไม่มีโอกาสได้ลิ้มลองแล้ว เพราะเป็นสัตว์สงวนฯ ไข่จาระเม็ดนี้ ไม่ใช่ไข่ปลาจาระเม็ดที่้ราเห็นทั่วไป แต่เป็นไข่ของสัตว์อะไรนั้น ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ Food stylist จะพาท่านไปรู้จักใน เรื่องเล่าข้างเตาถ่าน

ผลการค้นหา 1 รายการ
เรียงจาก

ผลการค้นหา 0 รายการ
เรียงจาก

ไม่พบข้อมูล
ผลการค้นหา 0 รายการ
เรียงจาก

ไม่พบข้อมูล
ผลการค้นหา 0 รายการ
เรียงจาก

ไม่พบข้อมูล
แผ่นเสียง แผ่นเสียง
กำลังออกอากาศ ไม่มีการออกอากาศ แผ่นเสียง Radio แผ่นเสียง Podcast เล่นแผ่นเสียง พักแผ่นเสียง
คลิปเสียงถัดไป