Advance Search
ผลการค้นหา
1
รายการ
เรียงจาก
อัปเดตใหม่ล่าสุด
62
1
11 ส.ค. 66
จีนถูกมองเป็นคู่แข่งของชาติมหาอำนาจฝั่งตะวันตกในการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จนถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือกีดกันทางการค้า ทำให้จีนต้องเร่งพัฒนาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตัวเอง นำมาสู่แนวคิดแบบ “วิทยาโลกาภิวัฒน์” (Techno-Globalism) ที่เชื่อในเรื่องการแบ่งปันองค์ความรู้มากกว่าการขยายตลาด ผูกขาดทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อครองความเป็นผู้นำตลาด (Techno- Hegemony) แล้วส่งต่อความรู้เหล่านั้นไปยังประเทศกำลังพัฒนาหรือพันธมิตร
ความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ระหว่าง ไทย-จีน นั้น ใกล้ชิดและยาวนานกว่า 40 ปี มีทั้งกลไกแบบรัฐต่อรัฐและหน่วยงานในระดับกระทรวง ทำให้เกิดโครงการนับพันโครงการ
โสภิต หวังวิวัฒนา ชวน ดร.อรสา รัตนอมรภิรมย์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการศูนย์อาเซียน-จีนศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ มาเล่าให้ฟังว่าจีนคิดอย่างไรในเรื่องนี้
ผลการค้นหา
0
รายการ
เรียงจาก
ชื่อรายการ ก-ฮ
ผลการค้นหา
0
รายการ
เรียงจาก
วันที่เผยแพร่ใหม่ล่าสุด
ผลการค้นหา
0
รายการ
เรียงจาก
วันที่ออกอากาศใหม่ล่าสุด
ผลการค้นหา
0
รายการ
เรียงจาก
ชื่อ ก-ฮ