Thai PBS Podcast
Podcast / รายการ / คิดก่อนเชื่อ / แว่นตาใช้งานหน้าอุปกรณ์กำเนิดแสงต่าง ๆ ช่วยป้องกันตาจากอันตรายของแสงสีน้ำเงินจริงหรือ
15:48
แว่นตาใช้งานหน้าอุปกรณ์กำเนิดแสงต่าง ๆ ช่วยป้องกันตาจากอันตรายของแสงสีน้ำเงินจริงหรือ
ฟังรายการ
ชื่นชอบ
แว่นตาใช้งานหน้าอุปกรณ์กำเนิดแสงต่าง ๆ ช่วยป้องกันตาจากอันตรายของแสงสีน้ำเงินจริงหรือ
วันที่เผยแพร่ : 22 ม.ค. 64
เพิ่มในเพลย์ลิสต์
ดาวน์โหลด
แชร์

• แสงสีน้ำเงินคือ แสงที่เป็นองค์ประกอบของแสงสีขาว
   o แสงที่เรามองเห็นได้จะอยู่ที่ช่วงความยาวคลื่นประมาณ 400-700 nm โดยแสงสีน้ำเงินอยู่ที่ช่วงประมาณ 380-480 nm จึงเป็นแสงที่อยู่ในช่วงมีพลังงานค่อนข้างสูง
   o แสงทั้งหมดมี 7 สี คือ ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง 
• แหล่งของแสงสีน้ำเงิน
   o  ดวงอาทิตย์ 
   o  หลอด LED ตามบ้านเรือน ไฟหน้าและท้ายรถ ไฟฉายสมัยใหม่ อุปกรณ์อิเล็คโทรนิคที่ต้องการให้เห็นตำแหน่งจึงใส่หลอด LED อุปกรณ์ดิจิตอล เช่น นาฬิกา (Smart Watch)
   o  จอ TV จอคอมพิวเตอร์ โน๊ตบุค แทบเล็ต  ฯลฯ

• แสงสีน้ำเงินที่เราเจอนั้น มี 2 ประเภท คือแสงสีน้ำเงินที่ดี และ แสงสีน้ำเงินที่เป็นโทษ
   o มีสมมุติฐานว่า แสงสีน้ำเงินที่ดี ในช่วงสูงกว่า 470 nm ช่วยกระตุ้นให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนออกมาช่วยทำให้เรากระฉับกระเฉง รู้ว่าเวลาไหนควรนอน เวลาไหนควรตื่น หรือแม้แต่บอกว่าเราควรกินตอนไหน ถ่ายอุจจาระตอนไหน ซึ่งเป็นการกระตุ้น “นาฬิกาชีวิต” ที่ทำให้ร่างกายทำงานเป็นปกติ
   o และยังมี สีน้ำเงินที่เป็นโทษ ในช่วงคลื่นที่ 415-455 nm นั้นเป็นแสงที่ส่งผลเสียทำให้จอประสาทตาเราค่อยๆ เสื่อมลงได้ หากรับในปริมาณที่มากเกินไป 

มีงานวิจัยอะไรบ้างที่ระบุถึงแสงที่อันตรายต่อดวงตาและแว่นตาสามารถตัดแสงได้หรือไม่
 

ผู้จัดรายการ
วิทยากร
แผ่นเสียง แผ่นเสียง
กำลังออกอากาศ ไม่มีการออกอากาศ แผ่นเสียง Radio แผ่นเสียง Podcast เล่นแผ่นเสียง พักแผ่นเสียง
คลิปเสียงถัดไป